ไทยส่งออกดักแด้ไปอังกฤษเพื่อทำ
ดร.วัฒนา ศักดิ์ชูวงษ์
นักวิชาการกลุ่มงานกีฏวิทยาและจุลชีววิทยาป่าไม้ เปิดเผยในที่แถลงข่าวสรุปการประชุมภาคีอนุสัญญาว่ าด้วยการค้าระหว่างประเทศซึ่งชนิดสัตว์ป่าและพืชป่าที่ใกล้สูญพันธุ์ ครั้งที่ 16 หรือ ไซเตส (CITES CoP16) ที่ศูนย์ประชุมแห่งชาติสิริกิตติ์ วันที่ 12 มีนาคม 2556 ว่าไทยเป็นประเทศที่ส่งออกผีเสื้อใ นลักษณะดักแด้ไปประเทศแถบยุโรป
โดยเฉพาะประเทศอังกฤษ เพื่อทำสวนผีเสื้อ จำนวนหนึ่งล้าน และมีมูลค่าการส่งออกนับล้านปอนด์ตัวต่อปี
สำหรับประเทศไทยมีจำนวนชนิดของผีเสื้อนับล้านชนิด แต่สามารถพบเพียง 20,000 ชนิด ถูกขึ้นทะเบียนเป็นสัตว์ป่าคุ้มครองตามพ.ร.บ.คุ้มครองสัตว์ป่าและพันธุ์พืช จำนวน 20 ชนิด และมีอยู่ในบัญชีแห่งอนุสัญญาไซ เตสเพียงห้าชนิดเท่านั้น
ระหว่างการแถลงข่าว ดร.ธีรภัทร ประยูรสิทธิ รองอธิบดี กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ง แวดล้อม ได้แถลงถึงสิ่งที่เกิดขึ้นระหว่ างการประชุมว่า หนึ่งในข้อเสนอของประเทศเดนมาร์ กในที่ประชุมครั้งนี้
คือการขอเปลี่ยนบัญชีผีเสื้อกลา งวัน จากบัญชีที่ 1 ห้ามมีการซื้อขายโดยเด็ดขาดมาอยู่บัญชีที่
2 คือสามารถค้าขายได้ แต่ต้องมีมาตรการควบคุม เนื่องจากเดนมาร์กไม่มีความกังวลว่าผีเสื้อชนิดนี้จะเสี่ยงต่อการสูญพันธุ์ทั่วไป จะมีก็แต่ภัยคุกคามจากคนในพื้นที่
"เราสงวนท่าทีเพราะข้อมูลไม่พร้ อม"
ดร.ธีรภัทรกล่าว
สำหรับแมลงในประเทศไทยที่อยู่ใน บัญชีที่
2 แห่งอนุสัญญาไซเตส มีจำนวน 5 ชนิด
ได้แก่ผีเสื้อภูฐาน, ผีเสื้อไกเซอร์อิมพีเรียล, ผีเสื้อถุงทองปักษ์ใต้, ผีเสื้อถุงทองป่าสูงและผีเสื้อถุงทองธรรมดา
“ผีเสื้อภูฐาน ซึ่งเป็นแมลงที่อยู่ในบัญชีที่ 2 แห่งอนุสัญญาไซเตส ได้สูญพันธุ์ไปแล้วจากประเทศไทย มากกว่า 30 ปี ส่วนผีเสื้อไกเซอร์อิมพีเรียล, ผีเสื้อถุงทองปักษ์ใต้และผีเสื้ อถุงทองป่าสูง อยู่ในสถานการณ์ที่ใกล้สูญพันธุ์ ส่วนผีเสื้อถุงทองธรรมดายังคงพบ อยู่บ้างแต่น้อย” ดร.วัฒนา
กล่าวเสริม
สำหรับประเทศไทยมีจำนวนชนิดของผีเสื้อนับล้านชนิด แต่สามารถพบเพียง 20,000 ชนิด ถูกขึ้นทะเบียนเป็นสัตว์ป่าคุ้มครองตามพ.ร.บ.คุ้มครองสัตว์ป่าและพันธุ์พืช จำนวน 20 ชนิด และมีอยู่ในบัญชีแห่งอนุสัญญาไซ
ระหว่างการแถลงข่าว ดร.ธีรภัทร ประยูรสิทธิ รองอธิบดี กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ง
"เราสงวนท่าทีเพราะข้อมูลไม่พร้
สำหรับแมลงในประเทศไทยที่อยู่ใน
“ผีเสื้อภูฐาน ซึ่งเป็นแมลงที่อยู่ในบัญชีที่ 2 แห่งอนุสัญญาไซเตส ได้สูญพันธุ์ไปแล้วจากประเทศไทย
---------- (ข่าวนี้ผมเขียนระหว่างฝึกงานที่ The Nation 12/มีนาคม/2556) ---------------
Three Thai butterflies close to extinction
Three Thai butterfly
species are close to extinction but can still be traded under international
laws.
Tanpisit Lerdbamrungchai
THE NATION
Tanpisit Lerdbamrungchai
THE NATION
Watana Sakchoowong, of the National Parks,
Wildlife and Plant Conservation Department, said Tuesday the endangered species
are Teinopalpus imperialis, Troides amphysus and T Helena.
They are listed in Cites' Appendix II alongside the Bhutanitis lidderdalii and
T aeacus butterflies.
Insects on Appendix II can be traded but with certain control measures. Only
the species on Appendix I receive full legal protection and cannot be sold.
"The Bhutanitis lidderdalii butterflies have vanished from Thailand for
more than three decades already," he said.
T aeacus butterflies could still be found but only in small numbers, he said.
Thailand is home to about one million butterfly species, 20 of which are
protected under Thai laws and five under Cites. The country is a butterfly
exporter, sending millions of pupas to Europe each year. "The major buyer
is Britain," he said.
The 16th CITES conference - a triennial forum governing the international trade
in flora and fauna - is being held in Bangkok and will run until Thursday.
__________________________
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น